กองประกันคุณภาพการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หน้าแรก
(current)
เกี่ยวกับเรา
- ปรัชญา / วิสัยทัศน์ / พันธกิจ/อัตลักษณ์/เอกลักษณ์
- นโยบายและแนวปฏิบัติ
- ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
- โครงสร้างการบริหารงาน
- โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน
- บุคลากร
เกณฑ์คุณภาพ
- กองยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา (สป.อว.)
- สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
- สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
- การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx)
- ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN-QA)
การจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ
- QAS NRRU
- NRRU MIS
- CHE QA 3D
- ระบบสารสนเทศผู้ประเมิน
- ระบบภาวะการมีงานทำของบัณฑิต
- ระบบประเมินความพึงพอใจบัณฑิต
ข้อมูลสารสนเทศ
- ข้อมูลสนับสนุน NRRU AUN-QA
- รายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
- รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
- รายงานผลการติดตามภาวะการมีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
- รายงานผลความพึงพอใจของบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
- รายงานผลความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบริหารหลักสูตร
- รายงานผลตรวจประเมินระดับหลักสูตร
- รายงานผลตรวจประเมินระดับคณะ
- รายงานผลตรวจระดับมหาวิทยาลัย
- รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
- รายงานความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
- รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.)
ปรัชญาการจัดการศึกษา
FAQS
ติดต่อเรา
คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ปฏิทินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายงาน SAR และ CAR ระดับมหาวิทยาลัย
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การสำรวจข้อมูลด้านประกันคุณภาพการศึกษา
วีดิทัศน์นำเสนอตรวจประเมินมหาวิทยาลัย
สูตรคำนวณคะแนน และการดำเนินงาน CHE QA 3D
กฎหมายที่เกี่ยวกับงานประกันฯ
รายงานผลการจัดโครงการกองประกันคุณภาพฯ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
ผลการประเมินความพึงพอใจการให้บริการสายสนับสนุน
แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
ม.ราชภัฏโคราชเปิดรับฟังเสียงสะท้อนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผ่านแบบวัดการรับรู้ EIT ของสำนักงาน ป.ป.ช.
วันนี้ ( 27 กุมภาพันธ์ 2567 ) กองประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จัดกิจกรรมตอบแบบวัดการรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก External Integrity and Transparency Assessment : EIT ณ ห้องประชุม ชั้น 1 อาคารราชภัฏรังสฤษฏ์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เนาวนนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พร้อมด้วยผู้บริหารให้การต้อนรับ นายอดิพงษ์ อทุน และ นายณัฐศาสตร์ ภักดีผล จาก สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในการร่วมกิจกรรมการตอบแบบผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกมีการกล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์การตอบแบบวัด EIT โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธีรา เข็มทอง รองอธิการบดีฝ่ายแผน งบประมาณ และพัฒนาคุณภาพ ต่อด้วยการดำเนินการตอบแบบวัด EIT โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาได้เรียนเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมตอบแบบวัด EIT ประกอบด้วย ผู้ค้ากับภาครัฐ จำนวน 16 คนจาก 16 ห้าวร้าน , ศิษย์เก่า จำนวน 12 คน และ นักศึกษา จำนวน 35 คน
แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก External Integrity and Transparency Assessment : EIT แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก เป็นแบบวัดที่ให้ผู้ตอบเลือกคำตอบตามการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่มีต่อหน่วยงาน ซึ่งมีการประเมินใน 3 ตัวชี้วัดประกอบด้วย ตัวชี้วัดคุณภาพการดำเนินงาน , ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการสื่อสาร และตัวชี้วัดการปรับปรุงระบบการทำงาน เป็นการนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐต่อไป
วันที่เผยแพร่ 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผู้เผยแพร่ admin
แชร์